Monday, November 7, 2011

Flectarn camouflage



ลายพราง: แฟล็กทาน(Flecktarn)
นำมาใช้:ค.ศ.1937-ปัจจุบัน(ลายพรางลายยังเหมือนเดิมแต่สีเปลี่ยนไปตามยุคสมัย)
ปรากฏในสงคราม : สงครามโลกครั้งที่ 2
ประเทศที่ดีไซน์ :เยอรมนี
ลายพรางประกอบสี 4 สี: เขียวเข้ม ส้ม เขียวอ่อน ดำ
แฟล็กทาน หรือ แฟล็กทานมุสเตอร์ (Flecktarnmuster)
หรืออีกชื่อๆหนึ่งที่นิยมเรียกในหมู่เยอรมันคือแฟล็กที่แปลว่าจุด ใช้เพื่อการรบในประเทศเยอรมัน โปแลนด์ เนเธอแลนด์หรือที่ใหนก็ได้ที่เป็นป่าฤดูใบไม้ร่วง(สีส้ม)

จริงๆแล้วลายพรางนี้ ได้ถูกทดลองในปี 1935 ซึ่งทดสอบกันมาก่อนยุคสงครามโลกครั้งที่สองเสียอีก ซึ่งมีรายชื่อลายพรางดังต่อไปนี้

*ลายพรางนี้ถูกนำมาใช้เฉพาะหน่วยรบSSเป็นหลัก


 Platanenmuster(ซ้ายฤดูร้อน ขวาฤดูหนาว)

Platanenmuster – "ลายพรางใบไม้
Plane tree pattern" (1937-1942) – ซึ่งใช้ในฤดูฝน/ร้อน/ใบไม้ผลิ/ใบไม้ร่วง





Rauchtarnmuster – "ลายพรางควัน" (1939-1944) – ใช้ในฤดูฝน/ร้อน/ใบไม้ผลิ/ใบไม้ร่วง







Palmenmuster – "ลายพรางต้นปาล์ม"(ca. 1941 – ไม่แน่ชัด) – ใช้ในฤดูฝน/ใบไม้ผลิ





Beringtes Eichenlaubmuster – "ลายใบต้นโอ้ครุ่นบี" (1942-1945)


Eichenlaubmuster – "ลายใบต้นโอ้ครุ่นเอ" (1943-1945) –ใช้ในฤดูฝน/ร้อน/หนาว




Erbsenmuster – "ลายจุดใบไม้ 44" (1944-1945)– ใช้กับทุกหน่วยเอสเอส




Leibermuster (1945-1960)


แทบจะไม่มีประวัติเลยแต่ถูกใช้ตั้งแต่ยุคเวาชเม็ทยันยุคสมัยต้นๆของ บุนเดสเวอร์

แฟล็กทานสมัยใหม่


Desert colors



ในปี 1976 กองกำลังป้องกันตนเอง(Bundeswehr)ได้นำเอาลายพรางแฟล็กทานกลับมาพัฒนาอีกครั้ง
และถูกทดสอบโดย Bundeswehr Truppenversuch 76 (Bundeswehr Troop Trial 76)


ลายพรางนี้ใช้แทบจะทุกหน่วยในเยอรมนี
ไม่ว่าจะ Herr(อ่านว่าเฮอร์แปลว่าท.บ.), Luftwaffe (อ่านว่าลุฟท์วาร์ฟแปลว่าท.อ.), Marine (อ่านว่ามารีนแปลว่าท.ร.)และ Sanitätsdienst (อ่านว่าซานิเทยต์เดียนท์ แปลว่าเสนารักษ์).


ลายพรางนี้เป็นลายพรางที่ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายอย่างมาก ไม่ว่าจะกองกำลังรัสเซียและประเทศสมาชิกอดีตสหภาพโซเวียต ญี่ปุ่น ทหารจีน(ในฑิเบต)และทหารในโปแลนด์





No comments:

Post a Comment